by ชาดา เตรียมวิทยา
"จีนโพ้นทะเล" เปรียบเหมือน "ไผ่" สัญลักษณ์ของความยืดหยุ่น เติบโตรวมกันเป็นกอที่มั่นคง พร้อมแตกหน่อใหม่อย่างต่อเนื่อง สะท้อนการเปรับตัวและการเติบโตอยางยั่งยืนในทุกสภาวะ
การทะลักของ "ไผ่" หลากสีมาสู่ต่างประเทศนั้น ย่อมมิได้มีเพียงเฉดสีธรรมดาของไผ่เท่านั้น หากแต่ยังมี "ไผ่สีเทา" หรือที่สื่อในประเทศไทยเรียกพวกเขาว่า "จีนเทา" แทรกซึมอยู่ด้วยสิ่งนี้สะท้อนถึงความซับซ้อนในบทบาทของคนจีนโพ้นทะเลรุ่นใหม่ในไทยโดยเฉพาะในกระแสเศรฐกิจไร้พรมแนและยุคดิจิทัล การเข้ามาของคนจีนบางกลุ่มนำมาทั้งโอกาสและความท้าทาย โดยเฉพาะด้านมือของ "ธุรกิจสีเทา" ที่อาศัยช่องโหว่ทางกฎหมายสร้างผลประโยชน์ต่อตนเอง แต่ส่งผลกระทบต่อจริยธณรมและศีลธรรมของสังคมไทย
หนังสือเล่มนี้พาไปสำรวจความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับจีนผ่านเศรษฐศกิจ วัฒนธรรม และการใช้ชีวิตของคนจีนใหม่ในไทย ที่มีทั้งด้านดีและด้านมืด โดยด้านมืดนี้เรียกว่า "ทุนธุรกิจสีเทา" ซึ่งหมายถึงการทำธุรกิจของคนต่างชาติที่อาจไม่ถูกต้องเต็มร้อย เช่น เลี่ยงภาษี ใช้แรงงานผิดกฎหมาย หรือทำธุรกิจที่อาจไม่ดีต่อสังคมและจริยธณรมของคนในพื้นที่นั้นๆ
"จีนโพ้นทะเล" เปรียบเหมือน "ไผ่" สัญลักษณ์ของความยืดหยุ่น เติบโตรวมกันเป็นกอที่มั่นคง พร้อมแตกหน่อใหม่อย่างต่อเนื่อง สะท้อนการเปรับตัวและการเติบโตอยางยั่งยืนในทุกสภาวะ
การทะลักของ "ไผ่" หลากสีมาสู่ต่างประเทศนั้น ย่อมมิได้มีเพียงเฉดสีธรรมดาของไผ่เท่านั้น หากแต่ยังมี "ไผ่สีเทา" หรือที่สื่อในประเทศไทยเรียกพวกเขาว่า "จีนเทา" แทรกซึมอยู่ด้วยสิ่งนี้สะท้อนถึงความซับซ้อนในบทบาทของคนจีนโพ้นทะเลรุ่นใหม่ในไทยโดยเฉพาะในกระแสเศรฐกิจไร้พรมแนและยุคดิจิทัล การเข้ามาของคนจีนบางกลุ่มนำมาทั้งโอกาสและความท้าทาย โดยเฉพาะด้านมือของ "ธุรกิจสีเทา" ที่อาศัยช่องโหว่ทางกฎหมายสร้างผลประโยชน์ต่อตนเอง แต่ส่งผลกระทบต่อจริยธณรมและศีลธรรมของสังคมไทย
หนังสือเล่มนี้พาไปสำรวจความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับจีนผ่านเศรษฐศกิจ วัฒนธรรม และการใช้ชีวิตของคนจีนใหม่ในไทย ที่มีทั้งด้านดีและด้านมืด โดยด้านมืดนี้เรียกว่า "ทุนธุรกิจสีเทา" ซึ่งหมายถึงการทำธุรกิจของคนต่างชาติที่อาจไม่ถูกต้องเต็มร้อย เช่น เลี่ยงภาษี ใช้แรงงานผิดกฎหมาย หรือทำธุรกิจที่อาจไม่ดีต่อสังคมและจริยธณรมของคนในพื้นที่นั้นๆ